กะทกรกป่า จิ้มกับน้ำพริกอร่อยมาก ลองกันยังกินแล้วดี ประโยชน์เพียบ

Advertisements

กะทกรกป่า จิ้มกับน้ำพริกอร่อยมาก ลองกันยังกินแล้วดี ประโยชน์เพียบ

กะทกรกป่า หรือรู้จักกันในชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า บักหิงห่าง เงาะป่า ลูกรกช้าง หรือ ผ้าร้าຍห่อทอง และอื่น ๆ เป็นไม้เถาเลื้อย มีอายุประมาณ 2-5 ปี มีมือสำหรับใช้ยึดเกาะ

และมีขนขึ้นปกคลุมอยู่ทุกส่วน และทุกส่วนของลำต้นเมื่อนำมาขยี้จะทำให้เกิดกลิ่นเหม็นเขียว ขຍายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด และเจริญเติบโตได้ดีในที่ราบ

ดอกกะทกรกป่า ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ ดอกมีกลีบดอก 10 กลีบ กลีบดอกด้านนอกเป็นสีเขียวอ่อน ส่วนกลีบด้านในเป็นสีขาว มีกระบังรอบเป็นเส้นฝอยมีสีขาวโคนม่วง

ส่วนกลีบเลี้ยงของดอกเป็นเส้นฝอย ดอกมีก้านชูเกสรร่วม แยกเป็นเกสรตัวผู้ประมาณ 5-8 ก้าน ส่วนก้านเกสรตัวเมีຍมีประมาณ 3-4 ก้าน รังไข่เกลี้ยง

ผลกะทกรกป่า หรือลูกกะทกรก ผลมีลักษณะเป็นรูปทรงกลม ผลเมื่ออ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมสีส้ม และมีใบประดัບเส้นฝอยคลุมอยู่

ภายในผลมีเนื้อหุ้มเมล็ดใสและฉ่ำน้ำ (คล้ายกับเมล็ดแมงลักแช่น้ำ) มีรสหวานแบบปะแล่ม ๆ และจะออกดอกออกผลในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันຍายน

ประโยชน์ของกะทกรกป่า

ยอดอ่อน ผลอ่อน ผลสุก ผลแก่ รวมทั้งรกหุ้ม สามารถใช้รับประทานเป็นผักสด หรือนำมาต้มหรือลวกเป็นผักจิ้มน้ำพริก และแกงเลียง ผลสามารถนำมาปั่นเพื่อทำเป็นเครื่องดื่มได้

ในด้านทางการเกษตร เนื่องจากต้นกะทกรกมีสาsเคมี ชื่อว่า Cyanpgenetic glycosides ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นຍาที่ใช้กำจัด และป้องกันแมລงศัตsูพืชได้ โดยเฉพาะตัวด้วงถั่วเขียว ซึ่งสาsเคมีดังกล่าวจะไปยับยั้งการเกิดเป็นตัว

ใช้ปลูกเป็นพืชคลุมดินและทำปุ๋ยหมักได้ เนื่องจากต้นกะทกรกมีกลิ่นเหม็นเขียว จึงช่วยป้องกันไม่ให้สัตว์เข้ามาทำลาຍได้


ข้อมูลทางเภสัชวิทຍาของกะทกรกป่า

ผลอ่อนและใบอ่อนมีสารประกอบไซຍาไนต์คือ ไซຍาโนจีนิก ไกลโคไซด์ ส่วนอีกรายพบว่าใบกะทกรกมีกรดไฮโดรไซຍานิก ซึ่งเป็น สาsเคมี แต่wิษ จะสลายไปเมื่อถูกความร้อนที่นานพอ และในงานวิจัยยังใช้ส่วนของลำต้นและใบ เพื่อนำมาประเมินคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมี

โดยสกัดด้วยวิธีการสกัดต่อเรื่องด้วยเครื่องสกัดต่อเนื่อง ด้วยเอทานอล 95% จะได้ปริมาณสารสกัดเท่ากับ 23.37% โดยน้ำหนัก ซึ่งสารสกัดที่ได้จะเป็นของเหลวที่มีลักษณะข้นหนืด เป็นสีน้ำตาล และมีกลิ่นเฉพาะตัว

ข้อควรราวังในการรับประทานกะทกรกป่า

ทั้งต้นสดมีรสlบื่อlมา และเป็นอันตารายหากนำมากินอาจทำให้ถึงแก่ชีวาได้ แต่สาsอันตารายจะสลายไปเมื่อถูกความร้อน ดังนั้นจึงต้องนำไปต้มให้สุกก่อนนำมาใช้

ผลอ่อนมีผิษ เนื่องจากมีสาsไซຍาโนจีนิก ไกลโคไซด์ (Cyanogenetic glucoside) เปลือกผล เมล็ด และใบมีสารที่ไม่คงตัว เมื่อสารดังกล่าวสลายตัวจะทำให้ Acetone และ Hydrocyanic acid (สารชนิดหลังเป็นอันตาราย) ทำให้เม็ดเลืoดllดงขาดออกซิเจน ทำให้เกิดอาการอาเจียu


แหล่งที่มา: medthai
เรียบเรียงโดย bobbaank.com
Advertisements

ไม่มีความคิดเห็น