ใครรู้ตัวว่านอนดึกบ่อยๆ รีบเปลี่ยนตัวเองก่อนสายเกินแก้

Advertisements

ใครรู้ตัวว่านอนดึกบ่อยๆ รีบเปลี่ยนตัวเองก่อนสายเกินแก้

พฤติกรรมการนอนดึก พักผ่อนไม่พอ อาจจะด้วยสาเหตุจากการทำงานหนัก หรือ มีกิจกវវมสังสรรค์กับเพื่อน ซึ่งพฤติกវវมแบบนี้จะส่งผลเสียกับสุขภาพในระยะยาว ยิ่งเป็นสังคมสมัยใหม่แล้วด้วยนั้น ยิ่งหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเหล่านี้ได้ยาก

ในธรรมชาติสมัยก่อน มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ใช้ชีวิตได้ดีในช่วงกลางวัน ออกหาอาหาร และ ทำกิจกវវมต่าง แต่เวลากลางคืน เราไม่ได้ตาดีเหมือนนกฮูก หูได้ยินเสียงดีเหมือนแมว หรือ จมูกดมกลิ่นได้ดีแบบสุนัข ทำให้เราต้องเข้าที่หลบซ่อน หาที่กำบัง เช่น ในถ้ำ เพื่อพักผ่อน ทำให้ร่ า งกายเราถูกกำหนดด้วยนาฬิกาชีวิต ตามแสงอาทิตย์ขึ้นลง

จะเห็นได้ว่า ตั้งแต่ 4 ทุ่ม เป็นต้นไป ร่ า งกายก็เริ่มที่จะทำงานได้น้อยลง และ ต้องการการพักผ่อนที่มากขึ้น เวลาหลัง 5 ทุ่มเป็นต้นไป เป็นช่วงเวลาที่ร่ า งกายต้องการ การพักผ่อนมากเป็นพิเศษ เพื่อฟื้นฟู และ ซ่อมแซม เซลล์ส่วนต่าง กระบวนการเหล่านี้จะดำเนินไปตลอดทั้งคืนที่เรานอนหลับ และ สิ้นสุดลงตอนเช้า ที่เราตื่นนอน หรือ ตอนที่๑วงอาทิตย์ขึ้นนั่นเอง

ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันประสาทวิทย าก็บ่งชี้ไว้เช่นเดียวกันว่า การเข้านอนเร็วตอน 22.00 น. ทำให้สุขภาพดีขึ้นได้จริง แพทย์หญิงฐาปนี สมบูรณ์ แพทย์ชำนาญการสถาบันประสาทวิทยา ได้ให้ข้อมูลว่า การนอนดึกจะส่งผลต่อสมอง หัวใจ และหลอดโลหิต ทำให้กระบวนการซ่อมแซมของร่ า งกายเกิດเสี ยสมดุล

แต่ถ้าหากเราสามารถเข้านอนเร็วได้ ก็จะทำให้ร่ า งกายของเรามีสุขภาพที่ดีได้ ด้วย 8 ข้อ ดังนี้


1 สมองจะสร้างเคมี ความสุข
เนื่องจากว่าเวลาที่เรานอน สมองจะสร้างสารเคมีความสุข หรือซีโรโทนินจะหลั่งออกมา หากไม่ได้นอน จะทำให้เกิดปัญหาเรื่องอารมณ์ และพฤติกវវมตามมา ตัวอย่างเช่น เป็นโຮคซึมเศร้า แต่ไม่ได้ระบุว่าต้องเข้านอนเวลา 22.00 ตรง อาจจมีเลทบ้างนิดหน่อย แต่ไม่ก็ไม่ควรเกิน 23.00 น.

2 สร้างความหนุ่มสาว
โกรทฮอร์โมน 70% จะหลั่งในขณะที่เรากำลังหลับ และอีก 30% ตอนที่เราออกกำลังกาย ซึ่งตัวฮอร์โมนนี้จะหลั่งตอนเรานอนช่วงเวลาเที่ยงคืน หรือ ตี1 ครึ่ง เพราะฉะนั้นเราควรจะหลับก่อนหน้านั้น อาจจะเข้านอนสักตอน 23.00 น. เพื่อให้การนอนหลับของร่ า งกายตรงกับช่วงเวลาที่ โกรทฮอร์โมนหลั่งพอดี

3 ความจำดีขึ้น
เนื่องจากกระบวนการจำ ต้องอาศัยการนอน เพื่อให้สิ่งที่เราได้เรียนรู้มา เข้าไปฝังในสมองตอนที่เราได้รับการพักผ่อน หรือนอนหลับ ทำให้จำสิ่งที่ได้เห็น ได้เรียนรู้สิ่งใหม่เข้ามานั่นเอง ดังนั้นการนอนเร็วขึ้นก็จะช่วยให้ความจำดีขึ้นตามไปด้วย

4 ช่วยคุมความดันโลหิตได้
การนอนมีส่วนช่วยในการควบคุมความดันโลหิต และระบบต่างของร่ า งกายเป็นไปอย่างสมดุล แต่สิ่งสำคัญคือ การนอนอย่างมีคุณภาพ ไม่ได้เน้นที่การนอนหลับเร็ว แต่เป็นการนอนที่ไม่มีสิ่งมารบกวน เช่น การนอนกรน นอนหลับตื่น ทำให้คุณภาพการนอนที่ดีเสี ยไป

5 ช่วยให้ร่ า งกายซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
แน่นอนว่าการนอนหลับ เป็นการที่ร่ า งกายได้หยุดทำงาน และได้รับการพักผ่อนอย่างเต็มที่ ซึ่งในช่วงเวลาที่เรานอนหลับ จะทำให้เกิດการซ่อมแซมของร่ า งกาย แต่จะเกิດขึ้น ช่วหนึ่งของการนอนที่หลับลึกช่วงครึ่งคืนแรก ร่ า งกายได้รับการฟื้นฟู

6 ลดความเสี่ยงโຮคอ้วน
ในช่วงที่เรานอนหลับ จะหลั่งโกรทฮอร์โม นออกมา และช่วยให้เราเผาพลาญ พลังงานได้ดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดโอกาสในการเกิดโຮคเบาหวาน ได้ สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่ง เมื่อเรานอนเร็วแล้ว จะทำให้เราไม่หิวในช่วงดึกจนต้องหาอะไรมาใส่ท้องเพิ่มนั่นเอง

7 ทำให้มีความสุขมากขึ้น
การที่เราได้นอนเร็ว นอนอย่างเต็มอิ่ม ร่ า งกายได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ ตื่นมาก็จะทำให้รู้สึกสดชื่น ความจำดี มีสมาธิ จะทำอะไรก็รู้สึกดีไปหมด ทำให้มีความสุขมากขึ้น ต่างจากการที่ร่ า งกายข า ดการพักผ่อน หรือพักผ่อนน้อย ก็จะหงุดหงิดอารมณ์เสียง่าย

8 ป้องกันความเสื่∂มชรา
เคยได้ยินไหม ถ้าไม่อยากแก่ ให้รีบนอนตั้งแต่หัวค่ำ เพราะการนอนจะทำให้ร่างกายของเราได้รับการฟื้นฟู ได้ขับถ่ายของเสีย แต่สำหรับใครที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้องเข้างานกะดึก สิ่งที่ควรทำคือ การออกกำลังกาย และนอนหลับได้อย่างมีคุณภาพ ให้ตัวเองสามารถนอนหลับลึกได้ ก็ช่วยได้เช่นกัน


แหล่งที่มา : bitcoretech.com
Advertisements

ไม่มีความคิดเห็น