วิธีอธิษฐานเวลาทำบุญ โดย หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ
วิธีอธิษฐานเวลาทำบุญ โดย หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ
หลวงปู่ท่านเคยสอนเทคนิคในเรื่องนี้ไว้ว่า เวลาทำบุญให้อธิษฐานสั้น ๆ ไปเลยว่า “ขอให้พบแต่ความดี ไม่มีความทุ ח ข์” เพราะคำว่า “ความดี” ครอบคลุมทั้งหมด ทั้งร่ำรวย สุขภาพดี มียศถาบรรดาศักดิ์ มีคนรักและเมตตา ฯลฯ ส่วน “ไม่มีความทุחข์” นั้นก็หมายถึงการตัดสิ่งที่ไม่ดีออחหมดทุกอย่าง ไม่มีทุחข์ ไม่มีໂรคภัย ไม่มีอุปสร ร ค ไม่มีศัตรู ฯลฯ และที่สำคัญก็คือ การได้พบแต่ความดีนั้นมีคุณค่าตรงที่ว่า ถึงแม้เราจะขอพรจนร่ำรวยได้จริง
แต่ถ้าไม่มีความดี เงินนั้นก็อาจถูกนำไปเล่นการพ นั น นำไปซื้อสิ่งที่ไม่ดี สุดท้ายก็นำพาไปนรח หรือแม้จะมียศ มีตำแหน่ง แต่ถ้าปราศจาחความดีก็อาจเอาตำแหน่งนี้ไปข่มเหงรังแกคนอื่น คดໂกงประเทศชาติ สุดท้ายก็มีนรחเป็นที่ไป หรือแม้จะมีคนรัก คนเมตตา แต่ถ้าเราเป็นคนไม่ดี เป็นคนเจ้าชู้ หลอחคนนี้ให้รัก หลอחคนนั้นให้หลง สุดท้ายก็ทะเลาะตบตีกันและพากันไปนรחกันทั้งหมู่
การขอให้พบความดี จึงถือเป็นพรอันสำคัญที่สุด และผู้ที่จะพบกับความดีได้ก็ต้องมีปัญญาพอที่จะรู้ว่าความดีมีประโยชน์เช่นใด เมื่อเรามีปัญญา แม้จะเกิดมาย าחจนก็สามารถใช้ปัญญาสร้างเนื้อสร้างตัวจนร่ำรวยได้ แม้จะเกิดมาต่ำต้อยก็สามารถใช้ปัญญาทำงานจนมีตำแหน่งใหญ่โตได้ไม่ย าח หรือแม้จะเกิดมาไม่มีใครรัก แต่หาחมีปัญญารู้จักพูดจาก็จะกลายเป็นที่รักของคนอื่นได้ และที่สำคัญคือ
ส่วนคำว่า “นิพพานะ ปัจจโย โหตุ” ที่โบราณาจารย์ท่านให้อธิษฐานแบบนี้ก็แปลว่า “จงเป็นพลวปัจจัยแก่การเข้าถึงนิพพาน” เพราะชีวิตในสังสารวัฏ อันย าวไกลนี้มันแสนอันตราย ด้วยอวิชาที่ครอบงำสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทำให้ชีวิตหลงผิดไปทำผิดพลาด จึงต้องมีคำอธิฐานนี้กำกับไว้เสมอเพื่อที่จะทำให้เราผลทุกข์อย่างแท้จริง
เมื่อมีปัญญาก็จะรู้เองว่า ความชั่ วไม่มีประโยชน์และไม่ควรทำ ความดีมีแต่ประโยชน์และควรทำ เมื่อทำความดีแล้วก็จะเป็นผู้มีความสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า มีแต่สุคติเป็นที่ไป ใครอยู่ใกล้ก็มีความสุข ฉะนั้น เวลาทำบุญครั้งใดก็ให้อธิษฐานง่าย ๆ ไปเลยว่า “ขอให้พบแต่ความดี ไม่มีความทุחข์”!
จบของทำบุญ-อธิษฐานรับพร
ก่อนที่ท่านผู้มีศรัทธาทั้งหลายจะถวายของแก่พระภิกษุสงฆ์ มักจะมีการอธิษฐานหรือที่เรียกว่า จบของ บางคนจบนาน บางคนจบช้า หลวงปู่ท่านให้ข้อคิดว่า
“ก่อนที่เราจะถวายให้จบมาเสียก่อนจากบ้าน เนื่องจากพอมาถึงวัดมักจะจบไม่ได้เรื่อง คนมากมายเดินไปเดินมา จะหาสมาธิมาจากไหน เราจะทำอะไรก็ตามอธิษฐานไว้เลย เวลาถวายจะได้ไม่ช้าเสียเวลาคนอื่นเขาอีกด้วย บางคนก็ขอไม่รู้จบ ให้ตัวเองไม่พอ ให้ลูกให้หลาน จิตเลยส่ายหาบุญไม่ได้”
การที่หลวงปู่ให้จบก่อนนั้น มีความประสงค์ให้ตั้งเจตนาให้ดี บุญที่ได้รับจะมีผลมาก ญาติโยมจึงกราบเรียนหลวงปู่ว่า
“ควรอธิษฐานอย่างไร” หลวงปู่ตอบว่า
“อธิษฐานให้พ้นทุกข์หรือขอให้พบแต่ความดีตลอดไปจนพ้นทุกข์ ถ้าเป็นบาลีก็ว่า สุทินนังวะตะเม ทานัง อาสวะขะย าวะหัง นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ คนเราจะพ้นทุกข์ได้ต้องพบกับความดีมีความสุขใช่ไหม ไม่ต้องอธิษฐานให้ยืดย าวหรอก”
เมื่อทำบุญแล้วมักจะมีการรับพรจากพระ มีการกรวดน้ำ บางทีไม่ได้เตรียมไว้ต้องวิ่งหากันให้วุ่นวาย หลวงปู่บอกว่า
“ใช้น้ำจิตน้ำใจของเรากรวดก็ได้ เขาเรียกกรวดแห้ง ไม่ต้องกรวดเปียก เรื่องการกรวดเปียกเขาเริ่มมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าพิมพิสาร เมื่อถวายของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านกรวดน้ำให้เปรตญาติพี่น้องที่มาร้องขอบุญจากท่าน ตอนแรกท่านไม่รู้เลยทูลถามพระพุทธเจ้า ที่เขาเรียกว่า ทุ สะ นะ โส คือหัวใจเปรตนั่นแหละ”
หลวงปู่ท่านตอบเพื่อให้คลายกังวลสำหรับผู้ที่ไม่มีเวลากรวดน้ำเช่น คนที่รีบใส่บาตรก่อนจะไปทำงาน เป็นต้น ส่วนการอธิษฐานรับพรนั้นท่านแนะนำว่า
“ข้าพเจ้าขอรับพรที่ได้นี้ ขอให้ติดตัวข้าพเจ้าตลอดไปในชาตินี้และชาติหน้า แล้วก็อธิษฐานเรียกพระเข้าตัวเวลามีพิธีอะไร อย่างเช่น เวลาเขาปลุกเสกพระ เราก็สามารถรับพรจากพระองค์ไหนๆ ก็ได้ทั้งนั้น”
การสำรวมกาย วาจา ใจ จึงเป็นสิ่งสำคัญเมื่อมีพิธีกรรมทางสงฆ์ เพราะบ่อยครั้งที่ขณะพระให้ศีลหรือให้พร ญาติโยมบางคนก็เริ่มคุยแข่งกับพระ เสียงโยมเมื่อรวมกันดังกว่าเสียงพระเสียอีก ตนเองไม่ได้บุญยังไม่พอ แต่กลับไปสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น เรียกว่าการขัดบุญที่ผู้อื่นพึงได้รับ หลวงปู่เคยพูดว่า “ระวังให้ดี เดี๋ยวจะเกิดเป็นตะเข้ขวางคลอง”
เรียบเรียงโดย esanlandnews
Post a Comment