7 สมุนไพรพื้นบ้าน “ต้านเบาหวาน” ตามภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน พร้อมวิธีการใช้
Advertisements
7 สมุนไพรพื้นบ้าน “ต้านเบาหวาน” ตามภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน พร้อมวิธีการใช้
ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในการ รั ก ษ า ด้วยสมุนไพร นั่นคือ การ รั ก ษ า โ ร ค เบาหวาน ก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของ โ ร ค เบาหวาน โ ร ค เบาหวาน เป็น โ ร ค ที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลอยู่ในเลือดสูง
โดยร่างกายไม่สามารถที่จะเปลี่ยนน้ำตาลไปเป็นพลังงานไปใช้ได้ และในสภาวะปัจจุบัน มีจำนวนประชากรที่ป่วยด้วย โ ร ค นี้ถึง 425 ล้านคนซึ่งเป็นตัวเลขที่ค่อนข้างสูง
และคาดว่าจะมีเพิ่มขึ้นถึงเป็น 629 ล้านคนกันเลยทีเดียว ทำให้ โ ร ค เบาหวาน กลายเป็น โ ร ค ร้ายที่สำคัญ ดังนั้นเรามาทำความรู้จักกับ โ ร ค เบาหวาน นั้นมีทั้งหมด 3 ประเภท
ประเภทที่ 1 คือ โ ร ค เบาหวานที่เกิดจากร่างกายไม่สามารถนำอินซูลินมาใช้ได้ตามปกติ
ประเภทที่ 2 คือ โ ร ค เบาหวานที่เกิดจากตับอ่อนสร้างอินซูลินได้น้อย ทำให้ร่างกายไม่สามารถใช้มีอินซูลินในการดูแลน้ำตาลในเลือดได้
ประเภทที่ 3 คือ โ ร ค เบาหวานที่ อาจเกิดได้กับผู้ที่ตั้งครรภ์ประมาณ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
ดูแลเกี่ยวกับการลดน้ำตาลในเลือด นั่นคือ การใช้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวันของเรา เช่น
การใช้ชะพลู การใช้ตำลึง การใช้ลูกซัด หรือการใช้ว่านหางจระเข้ ในการลดน้ำตาลในเลือด แต่ทว่าวิธีการใช้พืชสมุนไพรแต่ละชนิดก็จะมีวิธีที่แตกต่างกันไปตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน
นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรที่ให้ความหวานแทนน้ำตาลอีกทั้งยังช่วย รั ก ษ า ระดับน้ำตาลในเลือดได้ นั่นคือ หญ้าหวาน ซึ่งช่วยในการเพิ่มความหวานให้กับอาหาร ทำให้รู้สึกว่าอาหารที่มีรสชาติตามที่ต้องการมากขึ้น
ในปัจจุบันผู้ป่วย โ ร ค เบาหวาน สามารถที่จะ รั ก ษ า ด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน แต่การดูแลและควบคุมระดับน้ำตาล
จำเป็นต้องใช้ผักพื้นบ้านในการปรุงอาหาร และที่สำคัญก็คือ ผู้ป่วยที่เป็น โ ร ค เบาหวาน ควรหลีกเลี่ยง อาหารที่มีรสชาติหวานจัด เค็มจัด มันจัด ควบคู่กับการออกกำลังกายแล้วจะทำให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นห่างไกลจาก โ ร ค เบาหวาน
วิธีใช้สมุนไพร
1. ช้าพลู ให้เอาต้นช้าพลูทั้งห้า หมายถึงใช้ทั้งต้นรวมรากด้วย นำมา 1 กำมือ ให้พับเถาช้าพลูเป็น 3 ทบ ให้ตอกไม้ไผ่มัดเป็น 3 เปลาะ นำไปใส่หม้อต้มกับน้ำ 3 ขัน ต้มเคี่ยวให้เหลือน้ำ 1 ขัน ดื่มครั้งละครึ่งแก้ว ก่อนอาหาร วันละ 3 เวลา วิธีนี้มีผู้ใช้ช่วยแก้อาการเบาหวานได้
2. มะระขี้นก ให้สมกับตำลึงขึ้นได้ทั่วไป คือให้กินพร้อมมื้ออาหรให้ได้วันละ 1 กำมือ หรือจะใช้วิธีตามตำรา นำยอดตำลึง 1 กำมือ ปรุงรสด้วยการใส่เกลือหรือน้ำปลาเล็กน้อย
เพื่อให้กินอร่อยขึ้น แล้วนำไปห่อด้วยใบตอง เอาไปเผาไฟให้สุก กินให้หมด ให้กินก่อนนอนติดต่อกัน 3 เดือน
3. กะเพรา มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหลายชนิด ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ต้านความเครียด แก้หืด ต้านอักเสบ แก้ไข้ แก้ปวด และมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดด้วย ในใบกะเพรามีน้ำมันหอมระเหยและพฤกษเคมีหลายชนิด นักวิจัยพบว่าช่วยทำให้ตับอ่อนผลิตและหลั่งอินซูลลินได้ดีขึ้น
4. เตยหอม ถ้าว่ากันตามตำรา ใช้รากเตยหอม 1 ขีด สับเป็นท่อนเล็กๆ ใส่น้ำประมาณ 1 ลิตร ต้มให้เดือดแล้วหรี่ไฟลง เคี่ยวต่อไป 15-20 นาที ดื่มครั้งละครึ่งแก้ว วันละ 3 เวลา เวลาต้มจะปรุงแต่งใส่ใบเตยหอมให้มีสีสันและเพิ่มกลิ่นหอมให้ชวนดื่มก็ได้
5. ว่านหางจระเข้ ให้ตัดกาบใบว่านหางจระเข้ ที่ปลูกมาอย่างน้อย 1 ปี นำมาล้างน้ำให้สะอาด ปอกเปลือกออก จะได้เนื้อวุ้นใสๆ ให้รับประทานวันละ 15 กรัม ทุกวันติดต่อกันอย่างน้อย 4 สัปดาห์ ควรกินเนื้อวุ้นสดๆ เนื่องจากมีการศึกษาพบว่า เนื้อวุ้นที่เก็บไว้จะมีสรรพคุณลดลงอย่างรวดเร็ว
6. ต้นอบเชย ที่คนไทยรู้จักกันดีและนำมาใช้ปรุงยาหรือใช้ปรุงอาหารมักจะเป็น อบเชยจีน เพราะมีกลิ่นหอม เปลือกมีความบาง แต่ถ้าหาอบเชยจีนไม่ได้ จะใช้อบเชยไทย อบเชยญวน และอบเชยอื่นๆ แทนก็ได้
ให้กินผงอบเชยจีนครั้งละครึ่งช้อนชา วันละ 2 เวลา เช้าและเย็น โดยอาจผสมผงอบเชยจีนในเครื่องดื่มนม โกโก้ โยเกิร์ต ก็ได้ หรือบรรจุผงอบเชยจีนในแคปซูล ควรรับประทานติดต่อกันอย่างน้อย 20 วัน จึงจะเห็นผล
7. ตำลึง ให้สมกับตำลึงขึ้นได้ทั่วไป คือให้กินพร้อมมื้ออาหรให้ได้วันละ 1 กำมือ หรือจะใช้วิธีตามตำรา นำยอดตำลึง 1 กำมือ ปรุงรสด้วยการใส่เกลือหรือน้ำปลาเล็กน้อย เพื่อให้กินอร่อยขึ้น แล้วนำไปห่อด้วยใบตอง เอาไปเผาไฟให้สุก กินให้หมด ให้กินก่อนนอนติดต่อกัน 3 เดือน
ที่มา...https://www.herbtrick.com/
Advertisements
Post a Comment