พระคาถาชินบัญชร คาถาที่มีอานุภาพศักดิ์สิทธิ์ที่สุด พร้อมเสริมสิริมงคลแก่ชีวิต

Advertisements

พระคาถาชินบัญชร คาถาที่มีอานุภาพศักดิ์สิทธิ์ที่สุด พร้อมเสริมสิริมงคลแก่ชีวิต

อี ก หนึ่ง บทสวด ที่ทรงคุณค่ามาก สำหรับคา ถาชินบัญชร เป็นคา ถาศักดิ์สิทธิ์ที่มีอายุยาวนาน นับร้อยปี หลายคนคิดว่า ค า ถ าชินบัญชรสมเด็จพ ระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรํสี แห่งวัดระฆังโฆษิตาราม เป็นผู้แต่งขึ้น แต่แท้จริงแล้ว สมเด็จโต ท่านเป็นเพียงผู้นำคา ถามา เ ผ ยแพร่ต่ออย่างแพร่หลายเป็นที่รู้จักกันจ น ทุกวันนี้

จ ริ งๆแล้ว คา ถาชินบัญชร มีต้นกำเนิดมาจากลังกา ซึ่งเป็นต้นฉบับมีความยาว 22บท แต่ได้ถูกตัดตอนให้สั้นลง โดยพ ระมหาเถระผู้เชี่ยวชาญบาลีปกรณ์รูปหนึ่งจากเชียงใหม่ โดยจากปูมหลังของสมเด็จโต ที่ระบุไว้ว่าท่านได้บรรพชา และออกธุดงค์ในวัย 7ขวบ จนได้ไป เจอคัมภีร์เก่าชำรุดฉบับหนึ่ง ที่เจดีย์ร้าง เมืองกำแพงเพชร โดยคาดกันว่า น่าจะเป็น คา ถาชินบัญชร นั่นเอง

คา ถาชินบัญชร เป็นคา ถาที่มีอานุภาพ ศักดิ์สิทธิ์มาก หากผู้ใดสวด หรือภาวนาเป็นประจำ ในทุกอิริยาบถ จะช่วยเสริมให้เกิด ความเป็นสิริมงคล ศั ต รูไม่มากล้ำกรา ย มีเมตตามหานิยม มีโชคลาภ และ นับว่าเป็นอีกหนึ่ง พ ระคา ถาที่มีคุณานุภาพ ตามแต่จะปรารถนา

คำว่า.. “ชิน” หมายถึง พ ระพุทธเจ้า, คำว่า.. “บัญชร” หมายถึง กรง หรือ เกราะ

ดังนั้น “ชินบัญชร” จึงแปลว่า กรง หรือเกราะป้องกันภัยของพ ระพุทธเจ้า

เ นื้ อหาใน คา ถาชินบัญชร จะเป็นการอัญเชิญพ ระพุทธเจ้าลงมาสถิตในทุกส่วน ของร่างกาย รวมกันเป็นกำแพงแก้วคุ้มกัน ตั้งแต่กระหม่อมลงมาห้อมล้อมรอบตัวของผู้สวดภาวนา เพื่อให้ห่างไกลจาก อั น ตรา ยทั้งปวง และเป็นการเสริม ให้ผู้ที่สวดคา ถามีพลังพุทธคุณอันยิ่งใหญ่

สำหรับผู้ที่เพิ่ง เริ่มสวดคา ถาชินบัญชร ควรเริ่มในวันพฤหัสบดี ซึ่งถือเป็นวันครู และให้เตรียมดอกไม้ 3สี หรือดอกบัว 9ดอก หรือดอกมะลิ 1 จุดธูป 3, 5 ถึง 9ดอก เทียน 2 เล่ม จากนั้นให้จุดธูปเทียนบูชาพ ระรัตนตรัย โดยการตั้งนะโม 3จบ ต่อด้วยบทพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ

จากนั้นตั้งจิตภาวนาสวดคา ถาชินบัญชรทั้ง 15บท โดยเริ่มจาก….

ให้ตั้งนโม 3จบ

นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

ตั้งอธิษฐาน แล้วสวด

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง

อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา

อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ

มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ

ต่อด้วยคา ถาชินบัญชร 15 บท

1 ชะ ย าสะนากะตา พุทธา

เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง

เย ปิวิงสุ นะราสะภา

2 ตั ณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง

มัตถะเกเต มุนิสสะรา

3 สี เ ส ปะติฏฐิโต มัยหัง

พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร

4 หะ ทะ เ ย เม อะนุรุทโธ

สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก

5 ทั กขิเณ สะวะเน มัยหัง

อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก

6 เ กสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง

สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน

โสภิโต มุนิปุงคะโว

7 กุ ม าระกัสสโป เถโร

มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง

ปะติฏฐาสิคุณากะโร

8 ปุ ณ โ ณ อังคุลิมาโร จะ

อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา

นะลาเต ติละกา มะมะ

9 เ ส สาสีติ มะหาเถรา

วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา

ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ

อังคะมังเคสุ สัณฐิตา

10 ระตะนัง ปุระโต อาสิ

ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ

วาเม อังคุลิมาละกัง

11 ขั นธะโมระปะริตตัญจะ

อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ

เสสา ปาการะสัณฐิตา

12 ชิ น า นานาวะระสังยุตตา

สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา

พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา

13 อะ เสสา วินะยัง ยันตุ

อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ

สะทา สัมพุทธะปัญชะเร

14 ชินะ ปัญชะระมัชฌัมหิ

วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ

เต มะหาปุริสาสะภา

15 อิจ เจวะมันโต

สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ

ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ

ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ

ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ

คา ถาชินบัญชร ฉบับย่อ

ชิ นะ ปัญ ชะ ระ ปะ ริ ตัง มัง รัก ขะ ตุ สัพ พะ ทา (ภาวนา 10จบ)

คำแปล คาถาชินบัญช ร

1 พ ระพุทธเจ้า และพ ระนราสภา ทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบน ชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพ ระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้ง สี่ประการ เป็นผู้นำ ส ร รพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลส และกองทุ กข์

2 มี 28พ ระองค์คือ พ ระผู้ทรงพ ระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พ ระพุทธเจ้าผู้จอมมุนี ทั้งหมดนั้น

3 ข้ า พ ระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐาน เหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะ พ ระธรรมอยู่ที่ด ว งตาทั้งสอง พ ระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่ง ส ร รพคุณอยู่ที่อก

4 พ ระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพ ระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พ ระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พ ระอัญญาโกณทัญญะ อยู่เบื้องหลัง

5 พ ระอานนท์กับพ ระราหุลอยู่หูขวา พ ระกัสสะปะกับพ ระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย

6 มุนีผู้ประเสริฐคือพ ระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพ ระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง

7 พ ระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ

8 พ ระปุณณะ พ ระอังคุลิมาล พ ระอุบาลี พ ระนันทะ และพ ระสีวะลี พ ระเถระทั้ง 5 นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก

9 ส่วนพ ระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพ ระโอรส เป็นพ ระสาวกของพ ระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่

10 พ ระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพ ระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พ ระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พ ระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง

11 พ ระขันธปริตร พ ระโมรปริตร และพ ระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ

12 อนึ่งพ ระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น

13 ด้ ว ยเดชานุภาพ แห่งพ ระอนันตชินเจ้าไม่ว่า จะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพ ระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพ ระบัญชรแวด ว งกรงล้อม แห่งพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโ ร คอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โร คร้า ย คือ โ ร คลมและโ ร คดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ

14 ข อพ ระมหาบุรุษผู้ทรงพ ระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพ ระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพ ระชินบัญชร ข้าพ ระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล

15 ข้ า พ ระพุทธเจ้า ได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพ แห่งสัทธรรม จึงชนะเ สี ยได้ซึ่งอุปัทวอันตรา ยใด ๆ ด้วยอานุภาพแห่งพ ระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศั ต รูด้วยอานุภาพแห่งพ ระธรรม ชนะอันตรา ยทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพ ระสงฆ์ ขอข้าพ ระพุทธเจ้า จงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดร เทอญฯ สาธุบุญ


ที่มา...https://www.postsread.com/10363/
Advertisements

ไม่มีความคิดเห็น